ปาล์มขวด
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pyllanthus acidus
(L.) skeels
ชื่อวงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อสามัญ
Ster Gooseberry
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ภาคใต้
ยม , หมากยม หมักยม
ภาคอีสาน ,
มะยม
ภาคเหนือ
ถิ่นกำเนิด
เขตร้อนของทวีปแอฟริกา
นิเวศวิทยา
แดดจัดหรือในที่ร่มรำไร
ดินร่วนซุย ความชื้นพอเหมาะ
เวลาออกดอก
ฤดูฝน (ปลาย เมษายน-พฤษภาคม)
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
ตอนกิ่ง ปักชำ
การใช้ประโยชน์ ใบ
นำมาฝึกร้อยมาลัย
ผล รับประทานเป็นยาระบาย แก้ไอ
ขัดเสมหะ
เปลือก
แก้ไข้ทับฤดู และแก้ผดผื่นคัน
ราก แก้โรคผิวหนัง
ช่วยซับน้ำเหลืองให้แห้ง
ดอก ต้มแล้วกรองนำมาแก้โรคในตา ชำระล้างในตา
ลักษณะวิสัย
: ไม้ต้น
เรือนยอด ทรงพุ่ม : รูปร่ม ความสูง 10
เซนติเมตร ความกว้างทรงพุ่ม 5 เมตร
ถิ่นอาศัย: พืชบก
ลำต้น : ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้น :
ขรุขระ สีน้ำตาล
ชนิดของใบ : ใบเดี่ยวประกอบ แบบขนนกปลายคี่ สีเขียว ขนาดใบ กว้าง 13
ซ.ม. ยาว 15 ซ.ม.
ลักษณะพิเศษของใบ แต่ละก้านมี 20-30 คู่
หน้า-หลังของใบสีเหมือนกัน
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง : ตรงข้าม
รูปร่างแผ่นใบ : รูปไข่
ปลายใบ :
เรียวแหลม
โคนใบ : มน
ขอบใบ : เรียบ
ดอก : ดอกช่อกระจะ
ตำแหน่งออกของดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง
กลีบเลี้ยง : แยกออกจากกัน ปลายแยกเป็น 4 กลีบ
สีชมพู
กลีบดอก :
โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก สีเหลือง
รูปดอกพิเศษ รูปกงล้อ
เกสรเพศผู้ : จำนวน 10 อัน
สีเหลืองอ่อน
เกสรเพศเมีย : จำนวน 2 อัน
สีเหลืองเข้ม
รังไข่ : รังไข่เหนือวงกลีบ
ผล : :
ผลเดี่ยว
ผลสด : ผลเมล็ดเดียวแข็ง
สีของผล : ผลอ่อน สีเขียวอมเหลือง ผลแก่สีเขียวอ่อน
รูปร่างผล :
กลม
ลักษณะพิเศษของผล : ผลกลมค่อนข้างแบน ผลแห้งหยักประมาณ 6 หยัก
เมล็ด : จำนวน 1 เมล็ด / ผล
สีของเมล็ด : สีน้ำตาล
รูปร่างเมล็ด : กลม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น